การรักษาผมร่วง ผมบาง

การทำงานของสเต็มเซลล์นั้นจะมีการปล่อยสารที่ชื่อว่า "Exosome" หรือ "เอกซ์โซโซม" ออกมาในขณะที่สเต็มเซลล์กำลังจะตายไป โดยสารเอกซ์โซโซม ที่เกิดจากสเต็มเซลล์นี่เองที่จะตรงเข้าฟื้นฟูเซลล์โดยรอบ

A: เป็นคำถามที่น่าสนใจมากครับ ได้ทั้งสองแบบเลยครับ

Discovery Pico Laser เป็น Picosecond เป็นเลเซอร์รุ่นที่สามารถปรับพลังงานได้สูงที่สุด Peak Power ในปัจจุบัน

Exosome (เอ็กโซโซม) คือ เทคโนโลยีที่มีองค์ประกอบของโปรตีนขนาดเล็กมาก เป็นลักษณะวงกลมขนาดเพียง 30-100 nm ซึ่งมีขนาดเล็กกว่าเซลล์ทั่วไปถึง 1/1,000 เท่า โดยใน Exosome มีสารชีวโมเลกุล 1,000 ชนิด เช่น เช่น Cytokines, Growth factors, Micro RNA, Genetic information และโปรตีนอีกหลายชนิดที่มีมากกว่า PRP เป็น 1,000 เท่า ช่วยกระตุ้นและซ่อมแซมฟื้นฟูเซลล์และสเต็มเซลล์ต่างๆ ในระบบรากผมและหนังศีรษะให้ทำงานได้อย่างดีขึ้นแบบเต็มศักยภาพ

การใช้ยาแก้ผมร่วงเป็นเพียงรักษาอาการผมร่วงในเบื้องต้นเท่านั้น บางคนเรียกว่ายาปลูกผม หรือยาแก้หัวล้าน ยาเหล่านี้ไม่สามารถปลูกผมหรือแก้อาการศีรษะล้านได้ ยาแก้ผมร่วงทำได้เพียงส่งเสริมการสร้างเส้นผมจากเซลล์รากผมที่ยังทำงานได้ และลดปัจจัยที่ทำให้ผมร่วงเท่านั้นหากปัญหาหนังศีรษะของคุณมีค่อนข้างมาก ศีรษะล้าน เซลล์รากผมไม่สามารถถูกกระตุ้นให้สร้างเส้นผมได้อีกต่อไป ในขั้นนี้จำเป็นต้องรักษาด้วยการปลูกผมถาวร

IPL (ย่อมาจาก Intense Pulsed Light) เป็นเครื่องมือที่ให้ลำแสงที่มีความเข้มข้นสูงมีความยาวของคลื่นแสงตั้งแต่ 515 ถึง 1,200 นาโนเมตร

อุปกรณ์เครื่องมือ Energy-based Devices ที่มีให้การดูแลรักษาที่ DeMed Clinic

หมอได้มีโอกาสทดลองหมวกเลเซอร์พลังงานต่ำสำหรับรักษาผมบางรุ่นใหม่ล่าสุดครับเลยมีคลิปมาฝากกันครับเพื่อเป็นข้อมูลเผื่อใครสนใจการดูแลผมบางด้วยวิธีนี้ครับ

ภาวะผมร่วงเป็นหย่อม ๆ หลังฉีดวัคซีนโควิด-19 อาจเกิดขึ้นได้ เนื่องจากวัคซีนมีกระบวนการเลียนแบบการสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย กระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันและมาต้านตัวเอง หรือเสียการควบคุมของระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้เกิดปฎิกริยาอักเสบที่บริเวณต่อมผม ก็ส่งผลให้อาจเกิดภาวะผมร่วงเป็นหย่อม ๆ ได้

**เลเซอร์กระตุ้นรากผม นวัตกรรมการรักษาผมร่วง ผมบางด้วยเทคโนโลยีแฟรคชันนัล โฟโตเทอร์โมไลซิส (Fractional Photothermolysis)

แนะนำเทคนิคการดูแลหลุมสิว ep. 1 Acne Scar Treatment

งานวิจัยโดย ผศ. นพ. ศุภะรุจ เลื่องอรุณ (หมอรุจ) รศ. นพ. เทอดพงศ์ เต็มภาคย์และทีม

คือ ภาวะผมร่วง-ผมบาง จากการที่มีสาเหตุมากระตุ้น ทำให้ระยะ Telogen ของวงจรเส้นผมถูกกระตุ้นให้หลุดล่วงเร็วกว่าปกติ ซึ่งระยะ telogen เป็นระยะสุดท้ายของวงจรเส้นผมระยะที่สาม ที่มีประมาณ 10-15% ของเส้นผมบนหนังศีรษะ และคงอยู่นานประมาณ 3 เดือน

เป็นหนึ่งในกลุ่มโรคไลเคน พลาโนพิลาธิส (Lichen planopilaris) ซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุการเกิดโรคที่แน่ชัด แต่พบว่าเกิดกระบวนการอักเสบภายในรูขุมขนที่มีเม็ดเลือดขาวมาทำลายเซลล์ต้นกำเนิดผม

ปลูกผมด้วยนวัตกรรมใหม่ Hair Micro graft technology แบบไม่ต้องผ่าตัด โดยใช้หลักการซ่อมแซมเซลล์รากผมด้วยเซลล์ของตัวเอง (Autologous Micrograft Technology AMT)

เสริมประสิทธิภาพด้วยนวัตกรรมตัวยาใหม่ล่าสุดจากอเมริกาช่วยยับยั้งเอนไซม์ 5 – alpha reductase ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

เป็นโรคผมร่วงที่มีลักษณะการร่วงเป็นหย่อม อาจมีเพียงหย่อมเดียวหรือหลายหย่อม สามารถเกิดได้กับทุกบริเวณของร่างกายที่มีผมหรือขน

การปลูกผม (Hair Transplantation) เป็นหนึ่งในการศัลยกรรมผิวหนังเพื่อแก้ไขปัญหาศีรษะล้าน ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะนำเอาผมของตัวผู้เข้ารับการปลูกผมมาใช้ในการปลูกผม การปลูกผมจะต้องทำภายในสถานพยาบาล และใช้ยาชาเฉพาะที่ในขณะที่ทำการปลูกผม

เพราะเรื่องปัญหาผิวหนังรอไม่ได้ หมอจึงไม่หยุดดูแลรักษาคนไข้ หมอจึงขอให้คำปรึกษาการดูแลโรคผิวหนัง เส้นผม สิว หลุมสิว แผลเป็นทาง Line VDO Call เพื่อตอบโจทย์ในสถานะการณ์ปัจจุบัน

เกร็ดความรู้เรื่องผม วิธีล่าสุด รักษาผมบาง ที่ DeMed Clinic

หมอมีโอกาสได้รับเชิญให้สัมภาษณ์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลภาวะผมร่วงผมบางจากพันธุกรรมครับ

มีทั้งแบบ รอยแผลเป็นหลุม (atrophic scars) และรอยแผลเป็นนูน (hypertrophic scars) โดยแผลเป็นจากสิวมักเป็นแผลเป็นหลุมมากกว่าแผลเป็นนูนครับ

การปลูกผม เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการรักษาสำหรับผู้ที่มีปัญหาศีรษะเถิก, ผมบาง และหัวล้าน ให้กลับมามีความมั่นใจอีกครั้ง ซึ่งปัจจุบันการปลูกผม เป็นที่ได้รับความนิยม และมีการปลูกกันอย่างแพร่หลายคือ การปลูกผมแบบ เจาะกอผม หรือเรียกสั้นๆว่า FUE

1.สะกิดตัวยาและวิตามินบำรุงสูตรพิเศษ เพื่อบำรุงรากผมให้แข็งแรง ลดการขาดหลุดล่วงของเส้นผม 2.ผลักตัวยา ด้วยเครื่องมือพิเศษสำหรับการผลักตัวยาให้ซึมลึกถึงรากผม ปรับให้สภาพหนังศีรษะแข็งแรงขึ้น 3.ฉายแสงเลเซอร์สีแดง เพิ่มการไหลเวียนเลือดบริเวณหนังศีรษะ กระตุ้นการสร้างเส้นผมใหม่

 
 
งานวิจัยแพทย์ไทยคว้ารางวัลระดับเอเชีย
ผศ.นพ.ศุภะรุจ เลื่องอรุณ
งานวิจัยแพทย์ไทยคว้ารางวัลระดับเอเชีย อ.นพ.ศุภะรุจ เลื่องอรุณ
 
 
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้