Last updated: 15 มี.ค. 2567 | 653 จำนวนผู้เข้าชม |
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
Update เทคนิครักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์แผลผ่าตัดด้วยการใช้หลายเลเซอร์ร่วมกัน + เทคนิคการใช้การฉีดโบทูลินัมท็อกซิน (Botox) รักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์
Full Clip คลิปเต็มครับ https://youtu.be/lhd_zvPpA-U?si=HlYy8xQ4_VUr4kLH
ปัจจุบันมีการศึกษาการใช้โบท็อกซ์ Botox ในการดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์โดยใช้ทั้งการรักษาและป้องกันการเกิดคีลอยด์ครับ
เทคนิคการใช้ โบทูลินั่มท็อกซิน โบท็อก Botulinum Toxin (Botox โบท็อก ) ในการดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์ แผลผ่าตัด
https://youtu.be/K_s_SuVrcbI
https://youtu.be/K_s_SuVrcbI?si=_Ts67ZDP74G9nuW9
I.ป้องกันการเกิดแผลเป็นนูนคีลอยด์หลังการผ่าตัด :Scar prevention
1. มีการศึกษาหลังจากการผ่าตัดต่อมไธรอยด์ โดยฉีดภายใน 10 วัน และการผ่าตัดเย็บแผลฉีดภายใน 24 ชั่วโมงพบว่าช่วยให้แผลหายในลักษณะที่ดูดีขึ้น
2. โดยแนะนำให้ฉีดภายในหลังเย็บแผลจนถึงภายในสองถึงสามวันหลังจากการผ่าตัด
3. โดยออกฤทธิ์ยับยั้งการขยับของกล้ามเนื้อและมีฤทธิ์ลดการอักเสบ
•การวิจัยพบว่าการฉีดสาร Botulinum Toxin
(Botox) ก่อนการผ่าตัดสองสัปดาห์ ช่วยให้บาดแผลบริเวณใบหน้าหรือบริเวณผ่าตัดบริเวณอื่นๆ หายอย่างมีประสิทธิภาพดีมากขึ้น
II.การใช้ Botulinum Toxin ในการรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์มีการศึกษาการใช้การฉีด Botulinum toxinในการรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์โดยฉีดเดือนละ 1 ครั้ง เป็นจำนวน 3 ครั้ง พบว่าช่วยให้แผลเป็นมีลักษณะดีขึ้น
• นอกจากนี้ยังมีจุดเด่นโดยสามารถลดอาการปวดและคันบริเวณแผลเป็นนูนได้ โดยกลไกคือการออกฤทธิ์ผ่านการยับยั้งสารสื่อประสาทที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดและคัน
• ไม่ทำให้เกิดเส้นเลือดฝอยขยายและผิวหนังยุบตัวซึ่งพบในการฉีดสเตียรอยด์
• โดยสาร Botulinum Toxin ไปออกฤทธิปรับเปลี่ยนการหลังสาร cytokines ต่างๆ เช่น TGF beta, Interleukin IL 6, IL 8 ซึ่งส่งผลต่อเซลล์fibroblast ทำให้ลดการหดตัวของกล้ามเนื้อ
•สามารถดูแลควบคู่กับการทำเลเซอร์หลังการผ่าตัด 2-4 สัปดาห์เช่น fractional carbon dioxide laser , Fractional Picosecond laser โดยดูแลทุก 4 สัปดาห์
และการใช้สาร silocone gel จะยิ่งช่วยให้บาดแผลและแผลเป็นดีขึ้นได้ครับ
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพท์อาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่บุคคล
การรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์ มีหลายวิธีซึ่งผลการรักษาขึ้นอยู่กับการตอบสนองของแต่ละบุคคลจึงควรปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนการรักษาครับ
The molecular mechanism of BTX on hypertrophic scars and keloids is not yet perfectly explained, but BTX has been shown to inhibit the proliferation of fibroblasts derived from hypertrophic scar tissues. In addition, BTX is reported to suppress the expression of transforming growth factor (TGF)-β1, collagen I and III, α-smooth muscle actin and myosin II protein in keloid fibroblasts.
One particularly favorable aspect of BTX is its ability to control the subjective symptoms of hypertrophic scars. BTX can immobilize the local muscles of a scar and reduce skin tension caused by the muscle pull . This relieves trapped nerve fibers in keloids, neutralizing the itch and pain associated with small-fiber neuropathy. Another advantage of BTX is the absence of skin atrophy and telangiectasia which is often seen after steroid injection.
References อ้างอิง
Toxins (Basel). 2017 Dec; 9(12): 403.
Plast Reconstr Surg Glob Open. 2018 Aug; 6(8): e1888
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6181490/
https://www.aad.org/public/cosmetic/wrinkles/botulinum-toxin-overview
Cr:หมอรุจชวนคุย
https://fb.watch/qNjx51qJGg/?
https://x.com/drsuparuj/status/1767882247749902487?s=46&t=4qYp2uAwziMgaMmgVGnMyQ
https://youtu.be/Fifv_eOIFWY
https://youtu.be/EmAW9T73W5E
https://youtu.be/cZJAIAzY3Nk
https://youtu.be/XQF4gftCKVY
https://youtu.be/CF5m_ztaYrs
https://bit.ly/3x7fjKM
https://youtu.be/XQF4gftCKVY
https://bit.ly/3zsp8Ei
https://bit.ly/3TDmbMw
https://bit.ly/358ghtB
https://youtu.be/K_s_SuVrcbI
https://youtu.be/lhd_zvPpA-U?si=HlYy8xQ4_VUr4kLH
...
..
ปรึกษาคุณหมอหรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
Tel : 063-959-4392
Line: http://line.me/ti/p/@Demedclinic
Line: @Demedclinic
Wechat/Whatsapp: Demedclinic
IG: https://www.instagram.com/drsuparuj
www.facebook.com/drsuparuj
Youtube: https://bit.ly/3p20YLE
Blockdit: https://bit.ly/3d8vYr1
https://vt.tiktok.com/ZSJ141Mdf/
https://mobile.twitter.com/drruj1
www.demedclinic.com / www.demedhaircenter.com
31 ธ.ค. 2567