เทคนิคเลเซอร์รักษาปานดำโอตะ Nevus of Ota ด้วย Discovery Picosecond Laser เลเซอร์ปานดำ l หมอรุจชวนคุย

Last updated: 29 ม.ค. 2566  |  972 จำนวนผู้เข้าชม  | 

เทคนิคเลเซอร์รักษาปานดำโอตะ Nevus of Ota ด้วย Discovery Picosecond Laser เลเซอร์ปานดำ l หมอรุจชวนคุย

 

 ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล  

 ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล  

 ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล  

 ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล  

เทคนิคเลเซอร์รักษาปานดำโอตะ Nevus of Ota ด้วย Discovery Picosecond Laser เลเซอร์ปานดำ l หมอรุจชวนคุย

คลิปเต็มครับ https://youtu.be/nOlKS9YlJpA

ปานดำชนิด Ota เป็นปานดำที่มีมาแต่กำเนิด
สามารถรักษาได้ด้วยเลเซอร์ Picosecond laser
จนรอยโรคหายหมด เมื่อทำการรักษาซ้ำ ขึ้นกับความเข้มของปานเทคนิคเลเซอร์รักษาปานดำโอตะ Nevus of Ota ด้วย Discovery Picosecond Laser เลเซอร์ปานดำ l หมอรุจชวนคุย

เทคนิคเลเซอร์รักษาปานดำโอตะ Nevus of Ota ด้วย Discovery Picosecond Laser เลเซอร์ปานดำ l หมอรุจชวนคุย

เทคนิคเลเซอร์รักษาปานดำโอตะ Nevus of Ota ด้วย Discovery Picosecond Laser เลเซอร์ปานดำ l หมอรุจชวนคุย

เทคนิคเลเซอร์รักษาปานดำโอตะ Nevus of Ota ด้วย Discovery Picosecond Laser เลเซอร์ปานดำ l หมอรุจชวนคุย

เทคนิคเลเซอร์รักษาปานดำโอตะ Nevus of Ota ด้วย Discovery Picosecond Laser เลเซอร์ปานดำ l หมอรุจชวนคุย

เทคนิคเลเซอร์รักษาปานดำโอตะ Nevus of Ota ด้วย Discovery Picosecond Laser เลเซอร์ปานดำ l หมอรุจชวนคุย

ปานดำโอตะ (Nevus of Ota) เป็นปานสีน้ำเงินหรือน้ำตาลเข้ม เกิดจากเซลล์สร้างเม็ดสีที่ผิดปกติในชั้นใต้ผิวหนัง (dermal melanocytes)

ส่วนใหญ่ (90%) เป็นข้างเดียวของใบหน้า ตั้งแต่หน้าผาก ขมับและแก้ม บางรายอาจพบในตาขาวร่วมด้วย
•ประมาณกึ่งหนึ่งของปานโอตะ เป็นตั้งแต่เกิด ส่วนที่เหลือเริ่มเป็นเมื่อย่างเข้าวัยรุ่น
•พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย (5 ต่อ 1)
•ปานโอตะพบได้บ่อยถึง 0.2%-0.8% ของคนเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีจีน และไทย
•ความเข้มของปาน อาจเปลี่ยนแปลงได้จากการมีประจำเดือน ความอ่อนเพลีย การนอนไม่หลับ หรือฤดูกาล
•อย่างไรก็ตาม ไม่เคยพบว่า ปานชนิดนี้จะหาย ได้เอง

การรักษา
ไม่สามารถรักษาด้วยยาได้ การตกแต่งใบหน้าอย่างเข้มหรือ Make up เป็นวิธีการทั่วไปที่ใช้บ่อยเพื่อกลบเกลื่อนรอยปาน แต่ต้องแต่งหน้าแบบนี้ไปตลอดชีวิต

X ส่วนการรักษาในอดีตไม่ว่าจะเป็น
- การลอกหน้าด้วยสารเคมีประเภทกรด (chemical peeling)
- การกรอหรือขัดผิว (dermabrasion)
- การจี้ด้วยไฟฟ้า
- การจี้ด้วยความเย็น
- การปลูกถ่ายผิวหนัง
- รวม ถึงการใช้เลเซอร์ชนิดทั่วไปแบบไม่จำเพาะ เช่นคาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ (CO2 laser) ไม่สามารถทำลายเซลล์เม็ดสีที่อยู่ในชั้นใต้ผิวหนังได้หมด จึงแค่ทำให้ สีของปานจางลงบ้าง แต่ส่วนใหญ่จะกลายเป็นแผลเป็น

เทคนิครักษาปานโอตะด้วย Picosecond Laser
•ปัจจุบัน มีพัฒนาการของแสงเลเซอร์ที่สามารถทำลาย เฉพาะเม็ดสี(pigment) ที่ผิดปกติ เลเซอร์ชนิดจำเพาะ (Picosecond laser)
•เป็นเลเซอร์ชนิดพลังงานสูงพิเศษนี้ โดยไม่ทำลายเนื้อเยื่อข้างเคียง จึงไม่ก่อให้เกิดแผลเป็น หลังรักษา ในการรักษาด้วยเลเซอร์ชนิดพิเศษนี้ ต้องรักษาต่อเนื่องประมาณ 3-8 ครั้ง แต่ละครั้งห่างกัน 6-12 สัปดาห์ ขึ้นกับขนาดและความเข้มของปาน

ขั้นตอนการรักษาด้วย Laser

•หลังการทำความสะอาดผิวหน้า แพทย์จะทายาชาบริเวณที่จะยิงเลเซอร์ทิ้งไว้ประมาณ 45 นาที
•เมื่อยาชาออกฤทธิ์แพทย์จะยิงเลเซอร์ที่มีความยาวคลื่นและปริมาณที่เหมาะสมลงบริเวณที่ต้องการรักษา
ช่วงที่ทำจะไม่รู้สึกเจ็บมากนักเพราะฤทธิ์ยาชา แต่หลังทำอาจมีอาการเจ็บบ้างหรืออาจมีเลือดซึมออกมาเล็กน้อย
•แพทย์จะทายาบริเวณที่ทำเลเซอร์เพื่อป้องกันการติดเชื้อและทำการปิดแผล

เทคนิคการดูแลหลังการรักษาด้วยเลเซอร์

ไม่ควรให้บริเวณที่ทำเลเซอร์ถูกน้ำในช่วง 24 ชั่วโมงแรกหลังทำ
ใช้ยาทาแผล เช้า – เย็น ตามคำสั่งของแพทย์
หลังทำ 2 วัน แผลจะเริ่มตกสะเก็ด ห้ามแกะเด็ดขาดปล่อยให้หลุดเอง
หลีกเลี่ยงแสงแดดจัดๆ จนกว่าแผลจะหายดีซึ่งใช้เวลาประมาณ 7 วัน หลังจากนั้นควรใช้ครีมกันแดดช่วยเวลาจำเป็นต้องออกแดด

Nevus of Ota is a type of dermal melanocytosis that causes brown-blue hyperpigmentation of the eye and the surrounding area. The treatment choice for Nevus of Ota is laser therapy. Treatment can begin at any time, including early infancy. The hyperpigmentation may darken and extend with age, such as during puberty and after menopause. Sunlight can also darken the lesions. There is a similar skin condition called nevus of Ito. It has many of the same features to nevus of Ota but appears on the shoulder and side of the neck.


Nevus of Ota has been successfully treated by lasers. Currently, 1064 nm picosecond Nd:YAG lasers have become available for the treatment of pigmented disorders.

References:
•Yiping Ge et al. J Am Acad Dermatol. 2020 Aug.
•Natalie M Williams et al. Lasers Med Sci. 2020.

Cr:หมอรุจชวนคุย 



https://s.lemon8-app.com/s/mFQNwvTFQR 
https://twitter.com/clinic_de/status/1617422180492664833?s=46&t=vuLMeNcU4NlOs4gbyWMnzA 
https://bit.ly/3QqRR5U 
https://youtube.com/shorts/FSqAb6riVbA?feature=share 
https://youtu.be/uUdlOc201kg 
https://youtu.be/hb1toK5yAKg 
https://youtu.be/1jl3rMYWMRs 
https://youtube.com/shorts/CO5AOpvqnBo?feature=share 
https://youtu.be/nOlKS9YlJpA

...

 

คลิก!! จองสิทธิ์!! เพื่อรับข้อเสนอพิเศษ
(จำนวนจำกัด)

http://line.me/ti/p/@Demedclinic


...
ปรึกษาคุณหมอหรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
Tel : 063-959-4392 / 063-896-2514
Line: http://line.me/ti/p/@Demedclinic 
Line: @Demedclinic
Wechat/Whatsapp: Demedclinic
IG: https://www.instagram.com/drsuparuj 
www.facebook.com/drsuparuj 
Youtube: https://bit.ly/3p20YLE 
Blockdit: https://bit.ly/3d8vYr1 
https://vt.tiktok.com/ZSJ141Mdf/ 
https://mobile.twitter.com/drruj1 
www.demedclinic.com  / www.demedhaircenter.com 

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้