เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention

Last updated: 27 ก.ค. 2565  |  5488 จำนวนผู้เข้าชม  | 

เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention

 

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล 

 ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล 


เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention
..
ปัญหากวนใจสำหรับคุณผู้หญิงหลายหลายๆที่ผ่าตัดคลอด ก็คือมีโอกาสที่จะเกิดแผลเป็นนูนแดงหรือคีลอยด์ตามมาได้ครับ

เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention

เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention

เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention


..
แนวทางการดูแล
1. silicone gel และ silicone sheath การศึกษาการใช้แผ่นซิลิโคนหรือซิลิโคนเจลที่มีสารประกอบต่างๆเช่น pracaxil oil, 10% onion extract, 50 u sodium heparin, 1% allantoin •โดยเริ่มโดยเริ่มหลังจากการผ่าตัด 7 วัน ทาเช้าเย็นเป็นระยะเวลาตั้งแต่ 12 สัปดาห์ขึ้นไป

•พบว่าช่วยเรื่องสี ความแข็ง ความหนาและความไม่สอนเสมอของแผลได้ ช่วยป้องกันการเกิดแผลเป็นนูนคีลอยด์
..
2.การนวด Massage โดยนวดแผลผ่าตัดหลังจากหายสนิทแล้วโดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางนวดเป็นวงกลมห้าถึง 10 นาทีต่อวัน และอาจใช้ครีมบำรุงที่มีส่วนผสมของวิตามินอีหรือทาซิลิโคนตามได้ครับ
.
3.การฉีดยาสเตียรอยด์ โดยเฉพาะกรณีที่มีแผลเป็น นูนคีลอยด์ขนาดใหญ่แข็งโดยส่วนมากฉีดทุกหนึ่งเดือนสามารถดูแลรักษาร่วมกับการทำเลเซอร์ได้
.
4.การใช้การใช้เลเซอร์ เช่น pulsed dye laser (Vbeam), Fractional Ablative Lasee, Picosecond Laser ช่วยลดความแดงช่วยให้เรียบเนียนขึ้นได้โดยสามารถรักษาร่วมกับวิธีอื่นๆเพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้นได้ครับ

.

5.การผ่าตัดแก้ไขแผลเป็น Surgical Scar revision กรณีที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาโดยวิธีอื่นอาจจะใช้การผ่าตัดออกแล้วเย็บแผลใหม่และใช้การทำเลเซอร์เพื่อดูแลรักษาแผลเพื่อลดโอกาสเกิดแผลเป็นนูนคีลอยด์ตามมาได้ครับ เช่นมีการศึกษาการใช้ เลเซอร์ pulsed dye laser therapy (Vbeam) ร่วมกับการฉีดยา intralesional triamcinolone injection หลังการผ่าตัดแก้ไขแผลเป็นเพื่อลดโอกาสเกิดแผลเป็นนูนคีลอยด์ตามหลังการผ่าตัด**

6.การดูแลอื่นๆเช่น
•ใช้เลเซอร์ 1,064-nm Nd:YAG laser therapy ร่วมกับ steroid tape*
•หลีกเลี่ยงการดึงยืดบริเวณแผลเป็น
•ใส่เสื้อผ้าหลวมหลวมเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียดสีระคายเคือง เช่นเลี่ยงการใส่กางเกงยีนส์ขนาดรัด หรือพอดีตัวเป็นต้น

 

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล 


•ตัวอย่างการดูแลรักษาแผลผ่าตัดนูน Hypertrophic Scar บริเวณกลางหน้าอกโดยหมอเลือกใช้เทคนิค ใช้เลเซอร์ Picosecond Laser + Gold Toning + Fractional Laser ร่วมกับการใช้ Steroid dripping and occlusion https://bit.ly/3EjV3tW  •นอกจากนี้ยังมีเทคนิคการฉีดสารซึ่งช่วยลดแรงตึงตัวของแผลเป็นนูนคีลอยด์และช่วยลดการทำงานของเซลล์ fibroblast เนื่องจากเป็นตำแหน่งที่มีการดึงรั้งสูง https://youtu.be/cZJAIAzY3Nk  *Ann R Coll Surg Engl. 1985 Jul; 67(4): 238–240.

เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention

เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention

เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention

เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention

เทคนิคดูแลรักษาแผลเป็นนูนคีลอยด์จากผ่าตัดคลอด Cesarean section scar treatment and prevention



วันนี้หมอมีคลิปวิดีโอการดูแลรักษาแผลเป็นนูนแดงหลังจากผ่าตัดคลอด Cesarean section ด้วย Picosecond Laser มาฝากกันครับ

Puri N, Talwar A. The efficacy of silicone gel for the treatment of hypertrophic scars and keloids. J Cutan Aesthet Surg. 2009 Jul;2(2):104-6.

Tsai CH, Kao HK, Akaishi S, An-Jou Lin J, Ogawa R. Combination of 1,064-nm Neodymium-doped Yttrium Aluminum Garnet Laser and Steroid Tape Decreases the Total Treatment Time of Hypertrophic Scars: An Analysis of 40 Cases of Cesarean-Section Scars. Dermatol Surg. 2020 Aug;46(8):1062-1067.

** Kim JW, Huh CH, Na JI, Hong JS, Yoon Park J, Shin JW. Evaluating outcomes of pulsed dye laser therapy combined with intralesional triamcinolone injection after surgical removal of hypertrophic cesarean section scars. J Cosmet Dermatol. 2022 Apr;21(4):1471-1476.

A Cesarean scar happens when you deliver a child through a Cesarean section, also known as a C-section. A C-section is a major surgery that can lead to significant scarring.

Treating Cesarean Scars
If you already have a C-section scar, then you have several options to make it less obvious.
Silicone treatments.
Silicone has been shown to help reduce the appearance of scars over time. Using silicone gel or a silicone sheet on your scar can help your body break down unsightly scar tissue.‌ Silicone is a powerful and effective FDA approved material that can be used to treat C-section scars. Silicone hydrates the incision and reduces scarring and other symptoms such as redness, sensitivity, burning, swelling and itching.
Scar massage. Regularly massaging your scar — after it heals — may also reduce its appearance. Massaging stimulates the skin and encourages blood flow, which encourages cellular growth and gradually fades scars. Massage your scar in a circular motion using your index and middle finger for 5 to 10 minutes a day. If you like, add cream to your skin before massaging such as vitamin E or silicone gel.

Steroid injections. If you have a larger scar, steroid injections can help flatten it and make it less obvious. Your doctor may recommend monthly steroid injections so you can get the look you want.‌

Laser therapy. Medical lasers can help soften old scars and get rid of raised scars. Several monthly laser treatments can help many people minimize the appearance of old C-section scars.‌
Scar revision. If you have a C-section scar that other treatments have not helped, your doctor may recommend scar revision surgery. This treatment reopens the skin of your scar and removes the scar tissue. The goal is to allow the area to heal again with a less noticeable scar.

Cr: หมอรุจชวนคุย

.
https://bit.ly/3O8pNCl 
https://youtu.be/E_curizDeWc 
https://youtu.be/GLN6clf0O6Y 
https://youtu.be/x9h1OedAi6Q 
https://youtu.be/61QPvG8j6J8

..

คลิก!! จองสิทธิ์!! เพื่อรับข้อเสนอพิเศษ
(จำนวนจำกัด)

http://line.me/ti/p/@Demedclinic


...
ปรึกษาคุณหมอหรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
Tel : 063-959-4392 / 063-896-2514
Line: http://line.me/ti/p/@Demedclinic 
Line: @Demedclinic
Wechat/Whatsapp: Demedclinic
IG: https://www.instagram.com/drsuparuj 
www.facebook.com/drsuparuj 
Youtube: https://bit.ly/3p20YLE 
Blockdit: https://bit.ly/3d8vYr1 
https://vt.tiktok.com/ZSJ141Mdf/ 
https://mobile.twitter.com/drruj1 
www.demedclinic.com  / www.demedhaircenter.com 


Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้