Last updated: 29 ส.ค. 2567 | 538 จำนวนผู้เข้าชม |
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ขนคุดที่มีสีแดง KP Rubra มีลักษณะอย่างไร & ดูแลได้อย่างไร?
>> https://youtu.be/2no9z41O64M?si=AaxbxMQHMICxYdzQ
• ขนคุดที่มีสีแดง Keratosis pilaris rubra (KP rubra) มีลักษณะตุ่มนูนตามรูขุมขนและจะมีความแดงเด่นร่วมด้วย จะมีลักษณะเด่นเป็นปื้นแดงและจะมีความเด่นของรูขุมนูนขึ้นมา erythematous patches with follicular prominence
•โดยขนคุดปกติอาจจะมีความแดงบ้างโดยจะเป็นรอบรอบรูขุมขน Erythema is sometimes present in KP, but is usually mild and limited to the perifollicular skin แต่ขนคุดที่มีรอยแดงมักจะมีความแดงมากกว่าและเป็นเลยบริเวณรอบรูขุมขน
• พบบ่อยบริเวณแก้ม หน้าผาก คอครับ
• และอาจเป็นบริเวณแขนและขาร่วมด้วยได้ครับ
• เป็นภาวะที่มีความยากต่อการรักษาครับ
Keratosis pilaris rubra is a variant of keratosis pilaris, with more prominent erythema and with more widespread areas of skin involvement in some cases, but without the atrophy or hyperpigmentation noted in certain keratosis pilaris variants. It seems to be a relatively common but uncommonly reported condition.
อ้างอิง References Arch Dermatol. 2006;142(12):1611-1616.
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
เทคนิคการใช้เลเซอร์เสริมประสิทธิภาพการดูแลปัญหาขนคุด Laser Treatment for Keratosis Pilaris KP
https://youtu.be/QRarNO4k4e0?si=F9X7xEshYRSC_yBS
รูปใช้เป็นตัวอย่างผลจากการเข้ารับการรักษาพยาบาลสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย
ผลการรักษาขึ้นอยู่กับเทคนิคการรักษาและการตอบสนองของแต่ละบุคคลด้วยนะครับ
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
• เทคนิคดูแลผิว สำหรับปัญหาขนคุด Keratosis Pilaris KP เคพี
https://youtu.be/YsV60sTz_VI?si=AQDhCp0ZXMAHfixN
• ขนคุดเกิดได้อย่างไร https://youtu.be/QRarNO4k4e0?si=F9X7xEshYRSC_yBS
• แนวทางการรักษา + เลเซอร์ https://youtu.be/PsMCxzOyZrk
• เทคนิคดูแลผิว + สกินแคร์สำหรับปัญหาขนคุด https://youtu.be/_MA0adk27Us?si=xxN1tc6BeKFq9B5p
Dr. Ruj’s comments:
• ปัญหาขนคุด KP ถ้าเป็นมาก มีอาการคันแดงหรือส่งผลต่อความสวยงามความมั่นใจ หมอจะใช้เทคนิคการดูแลรักษาหลายอย่างร่วมกันเช่นการผลัดเซลล์ผิว Peeling + เลเซอร์ และ moisturizer ครับ
• การผลัดเซลล์ผิวไม่ควรมากเกินไปเพราะจะทำให้เกิดการระคายเคืองทำให้ขนคุดเห่อขึ้นได้ครับ
• การใช้เลเซอร์ มีหลายชนิดที่มีการศึกษา เช่น Long Pulsed NdYAG, Fractional Laser แนะนำต้องรักษาเสริมร่วมกับวิธีอื่นด้วยครับ
•และเมื่ออาการดีขึ้นแล้วแนะนำให้ดูแลผิวด้วยการทาครีมบำรุงและหลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นอย่างต่อเนื่องครับ
•หมอมีเทคนิคการดูแลผิวและการเลือกสกินแคร์สำหรับผู้ที่มีปัญหาขนคุดมาฝากกันครับ https://youtu.be/9yj1EwkoVLY
* ผลการดูแลขึ้นอยู่กับการตอบสนองของแต่ละบุคคลด้วยนะครับ *
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ขนคุดชนิดที่มีรอยแดง Keratosis Polaris Rubra = KP Rubra มีลักษณะอย่างไร & ดูแลได้อย่างไร ?
คลิปเต็ม Full Clip Facebook YouTube หมอรุจชวนคุย ครับ
https://youtu.be/mliKYQzhK-k?si=AChQBvHJR6p1pALe
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
แนะนำเทคนิคดูแลปัญหาผิวหนัง: เทคนิคดูแลปัญหาขนคุด KP Keratosis Pilaris Treatment
>>การผลัดเซลล์ผิวในปัญหาขนคุด KP Keratosis Pilaris ไม่ควรผลัดมากเกินไปเพราะจะทำให้เกิดการระคายเคืองทำให้ขนคุดเห่อขึ้นได้ครับ
•แนะนำผลัดเซลล์ผิวสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (ตามคำแนะนำของสมาคมแพทย์ผิวหนังอเมริกา)
+ ทามอยเจอไรเซอร์ให้ความชุ่มชื้นให้เพียงพอครับ
ส่วนมากที่พบมักจะผลัดเซลล์ผิวบ่อยเกินไป***
เช่นทุกวันหรือวันเว้นวันโดยไม่ได้ให้ความชุ่มชื้นผิวเพียงพอทำให้เกิดการระคายเคือง จนกระทั่งผิวหนังอักเสบ ยิ่งแห้ง แห้ง แดง ลอกคัน ทำให้ขนคุดยิ่งเห่อครับ
คลิปเต็มครับ >> https://youtu.be/PsMCxzOyZrk
ขนคุด (Keratosis Pilaris) หรือเรียนอีกชื่อว่า “ผิวหนังไก่”
• เกิดจากพันธุกรรมที่มีความผิดปกติของการสร้างเซลล์ผิวหนัง (Keratiniza tion)
• ที่ส่งผลให้บริเวณรูขุมขน มีการอุดตันของรูขุมขนด้วยสารเคอราติน ที่เป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง เรียกว่า Keratin plug ส่งผลให้ขนไม่สามารถงอกทะลุรูขุมขนออกมาได้ เกิดเป็นขนคุดอยู่ใต้ผิวหนัง
ปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดขนคุด?
โรคขนคุด เกิดในคนทุกอายุทุกเชื้อชาติ ทั้งเพศชายและเพศหญิง อาจเป็นโรคเดี่ยวๆ
• หรือพบร่วมกับโรคอื่น เช่น Atopic dermatitis (โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง), Ichthyosis (โรคผิว หนังเกล็ดปลา/ผิวหนังแห้งมากจนตกสะเก็ด)
• โดยมักพบในผู้ที่มีผิวแห้งมากกว่าผิวมัน และอาการจะเป็นมากขึ้นในฤดูหนาวที่มีอาการเย็นและแห้ง*
อาการของขนคุดเป็นอย่างไร?
จากการสะสมของโปรตีนเคอราติน อุดตันรูขุมขน ทำให้ขนไม่สามารถงอกพ้นผิวหนังออกมาได้ตามปกติ
• จึงเกิดเป็นตุ่มตามรูขุมขนมากมาย ทำให้ผิวหนังดูสากคล้ายกระดาษทราย หรือหนังไก่
• บริเวณที่พบได้ คือ ต้นแขนด้านนอก* ต้นขาด้านนอก* บริเวณใบหน้า* ก็สามารถเกิดได้เช่นกันซึ่งมักพบในเด็ก และอาจทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นสิว ตุ่มจากโรคขนคุดเหล่านี้ มักไม่มีอาการอื่น (เช่น คัน เจ็บ) และมีสีออกสีเนื้อ
• พบได้บ้างที่มีการอักเสบ ซึ่งจะทำให้มีรอยแดงรอบรูขุมขน และมีอาการคันร่วมด้วย
• อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างของอาการ / ลักษณะตุ่มในแต่ละคนค่อนข้างมาก ตั้งแต่ตุ่มแดงอักเสบชัดเจน จนถึงมีอาการเล็กน้อย มีตุ่มไม่มาก และในเรื่องความสากของผิวหนัง
• ลักษณะโรคขนคุดเมื่อดูด้วยกล้องพิเศษ dermoscopy จะพบมีการอุดตันรูขุมขนด้วย keratin และมีการอักเสบรอบๆรูขุมขน
บริเวณที่มาสามารถเกิดขนคุดขึ้นได้
* แขนหรือใต้วงแขน
* น่องขา ต้นขาและหัวเข่า
* รักแร้
* ผิวหน้า
เทคนิคการดูแลผิวสำหรับปัญหาขนคุด
หลีกเลี่ยงการขัดถูอย่างรุนแรง scrubbing เด็ดขาดซึ่งจะทำให้เกิด เห่อ การอักเสบแดงคันของขนขุดได้
หลักการสำคัญในการดูแลผิวสำหรับขนคุดคือการผลัดเซลล์ผิว (อย่างอ่อนโยน) + การบำรุงผิว โดยต้องให้บาลานซ์กันทั้งสองส่วนนะครับ
• ดูแลผลัดเซลล์ผิวอย่างอ่อนโยน exfoliating โดยขจัดเซลล์ผิวหนังชั้นนอกที่นูนเป็นตุ่มออกอย่างเบาๆด้วยผ้าเช็ดตัว ใยบวบ ฟองน้ำนิ่มๆ ***ต้องขอเน้นว่าเช็ดอย่างเบาเบานะครับ ห้ามขัดถูรุนแรงเด็ดขาด ไม่อย่างนั้นจะยิ่งทำให้เห่อเป็นมากขึ้น
• ส่วนมากที่พบมักจะผลัดเซลล์ผิวบ่อยเกินไปเช่นทุกวันหรือวันเว้นวันโดยไม่ได้ให้ความชุ่มชื้นผิวเพียงพอทำให้เกิดการระคายเคือง จนกระทั่งผิวหนังอักเสบ ทำให้ขนคุดยิงเห่อครับ
• ทาผลิตภัณฑ์ที่มีสารที่ช่วยในการผลัดเซลล์ผิว Keratolytic agents ซึ่งช่วยให้เซลล์ผิวชั้นนอกที่หนาหลุดลอกออก ***โดยเลือกผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของสารเช่น
>> Alpha hydroxyl acid AHA
>> Glycolic acid
>> Lactic acid
>> Retinoid (retinol, tretinoin, adapalene, tazarotene)
>> Salicylic acid
>> Urea
• การผลัดเซลล์ผิวแนะนำ 1 ครั้งต่อสัปดาห์ (จากคำแนะนำของสมาคมแพทย์ผิวหนังอเมริกา) และต้องดูสภาพผิวด้วยเช่นถ้าหลัง peel มีอาการแดงคันแสบอาจจะต้องลดความเข้มข้นหรือระยะเวลาในการผลัดเซลล์ผิวในครั้งหน้าด้วยนะครับ
• โดยต้องใช้ตามที่ผลิตภัณฑ์แนะนำนะครับเพราะถ้าใช้มากเกินไปอาจจะเกิดอาการระคายเคืองผิวหนังอักเสบแดงคันตามมาได้ https://bit.ly/42y1ndR
• หรือถ้าใช้แล้วมีอาการแห้งแดงคันอักเสบ แนะนำให้เว้นการใช้ผลิตภัณฑ์ดูแลผิวดังกล่าว 2-3 วันจนอาการหายดีแล้วค่อยกลับมาใช้ใหม่ครับ
- ทามอยเจอไรเซอร์บำรุงผิวปริมาณมากโดยเฉพาะ Moisturizer ที่ประกอบด้วย ยูเรีย Urea และแลคติคแอซิด Lactic acid*
- เนื่องจากการทาผลิตภัณฑ์ที่ช่วยในการผลัดเซลล์ผิวจะทำให้ผิวแห้งมีอาการระคายเคืองได้ การทามอยเจอไรเซอร์ให้ผิวชุมชื่นจึงมีความสำคัญมาก
• โดยเลือกผลิตภัณฑ์ที่ปราศจากน้ำมัน thick oil-free cream เพื่อลดการอุดตันของรูขุมขน
• แนะนำให้ทาหลังอาบน้ำเสร็จภายใน 3 นาที บนผิวเปียกหมาดหมาด
• ทาเมื่อรู้สึกผิวแห้ง และให้ทาอย่างน้อยสองถึงสามครั้งต่อวัน
• เมื่ออาการตุ่มขนคุดดีดีขึ้นแล้วแนะนำให้ดูแลอย่างต่อเนื่อง Maintainance โดยอาจใช้วิธีข้างต้นสองถึงสามครั้งต่อสัปดาห์
• อย่าอาบน้ำนานเกินไป แนะนำไม่เกิน 5-10 นาที และอาบน้ำอุณหภูมิอุ่นเล็กน้อย *หลีกเลี่ยงการอาบน้ำร้อนครับ
การป้องกันการกำเริบของขนคุด Prevent Flare Up
-ทาครีมบำรุงผิว Moisturizer เพื่อป้องกันไม่ให้ผิวแห้งอย่างสม่ำเสมอ ***เนื่องจากขนคุดมักจะเห่อเป็นมากเมื่อผิวแห้ง***
Xหลีกเลี่ยงการกำจัดขนบริเวณที่เป็นขนคุดด้วยการแว็กซ์หรือการโกนซึ่งจะทำให้ขนคุดเห่อเป็นมากขึ้น
• ถ้าต้องการกำจัดขนแนะนำเป็นการใช้เลเซอร์กำจัดขนซึ่งจะไม่ทำให้เกิดการเห่อของขนคุดครับ
- อย่าอาบน้ำนานเกินไป แนะนำไม่เกิน 5-10 นาที และอาบน้ำอุณหภูมิอุ่นเล็กน้อย *หลีกเลี่ยงการอาบน้ำร้อนครับ
- ใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่อ่อนโยน การใช้การใช้สบู่ก้อนอาจจะทำให้ผิวแห้งมากขึ้นได้ครับ
- หลีกเลี่ยงการโดนแดดจัด การทำผิวสีแทนหรือการอาบแดดซึ่งจะทำให้ตุ่มขนคุดชัดขึ้นได้ครับ
- ใช้เครื่องเพิ่มความชุ่มชื้นในอากาศ Humidifier เมื่ออากาศเย็นและแห้งมากครับ
• การรักษาอื่นๆกรณีเป็นมากหรือมีอาการคันแนะนำปรึกษาแพทย์ก่อนนะครับเช่นการใช้การผลัดเซลล์ผิวยาทาหรือเลเซอร์
การใช้เลเซอร์
• การใช้เลเซอร์กำจัดขน เช่น IPL Long pulse Nd Yag diode laser
• Qs NdYAG Laser
• การใช้เลเซอร์กลุ่มอื่นๆเช่น
• Pulsed dye laser PDL (Vbeam ) โดยเฉพาะขนคุดที่มีอาการแดงอักเสบร่วมด้วย
• Alexandrite laser
• KTP laser
• Nd:YAG laser
• Fractional CO2 laser
• Picosecond Laser
แสงและเลเซอร์ที่มีงานวิจัยช่วยดูแลภาวะขนคุด KP Keratosis Pilaris ครับ
>> QS Nd: YAG laser
>> Fractional CO2 laser
>> Diode laser 810 nm
>> Pulse Dye laser (PDL)
>> Potassium Titanyl Phosphate (KTP)
>> Intense Pulse Light Therapy (IPL)
เนื่องจากเส้นขนใน KP จะเป็นเส้นขนเส้นเล็ก (Vellus-like Hair) ทำให้จับกับพลังงานเลเซอร์ได้ไม่ดี
+ และกลไกลเกิดขนคุด ส่วนหนึ่งเกิดจากการที่เซลล์ผิวผิวแพ็คแน่นไม่ลอกตัวออกไปครับ
Keratosis pilaris, a common skin condition, does not usually require treatment. Still, you can improve your skin’s appearance with certain medicated creams, moisturizers, or laser treatment.
KP is a common benign cutaneous disease. However, it can be emotionally and socially debilitating to patients. Despite its high prevalence, data on KP treatment is sparse. The available literature supports the use of laser therapy in the treatment of various types of KP. PDL and IPL appear to be effective in the treatment of KPR and KPA while pulse diode and QS:Nd YAG lasers seem to be a suitable treatment options for patients with refractory KP lesions. Topical therapies including emollients, tacrolimus, azelaic acid, salicylic acid demonstrated treatment efficacy for KP. Efficacy of vitamin A-related topicals appears to be limited to tazarotene, and topical vitamin D was not effective for the treatment of KP lesions.
When to seek medical help
Keratosis pilaris does not usually cause physical discomfort. But if your skin is itchy or painful, see a dermatologist for treatment. A dermatologist is a medical specialist who treats conditions affecting your skin, nails, and hair.
You should also consider seeing a dermatologist for treatment if you’re emotionally distressed or worried about the appearance of keratosis pilaris. Even though this condition is harmless, it may be upsetting for some people.
When to seek medical help
Keratosis pilaris does not usually cause physical discomfort. But if your skin is itchy or painful, see a dermatologist for treatment. A dermatologist is a medical specialist who treats conditions affecting your skin, nails, and hair.
Laser treatments use a wavelength of light to remove outside layers of skin. This treatment can eliminate bumps, rough patches, and brown spots.
There are several different types of lasers that a doctor may choose.found that fractional carbon dioxide lasers were effective in eliminating keratosis pilaris bumps.
A doctor may add microdermabrasion to a laser treatment plan for keratosis pilaris. This minimally invasive procedure “sands” away the outer layer of your skin.
Our findings demonstrate that the most supported form of treatment for KP is laser therapy, particularly the QS:Nd YAG laser. Topical treatments - including Mineral Oil-Hydrophil Petrolat, tacrolimus, azelaic acid, and salicylic acid - are also effective at least for improving the appearance of KP.
อ้างอิง References
Maghfour J. et al Treatment of keratosis pilaris and its variants: a systematic review. J Dermatolog Treat. 2022 May;33(3):1231-1242.
Kechichian E et al. Light and Laser Treatments for Keratosis Pilaris: A Systematic Review. Dermatol Surg. 2020 Nov;46(11):1397-1402.
Cr:หมอรุจชวนคุย
...
https://vt.tiktok.com/ZS2rr3Agr/
https://vt.tiktok.com/ZSYpdL2GU/
https://s.lemon8-app.com/s/kQTxdexrQR
https://vt.tiktok.com/ZSYBNCyC2/
https://www.lemon8-app.com/drsuparuj/7309646999576855042? user_id=7110947306966402054
https://x.com/drsuparuj/status/1732564522836324525?s=46&t=4qYp2uAwziMgaMmgVGnMyQ
https://bit.ly/3G6mO9i
https://bit.ly/3n7jL94
https://youtu.be/GNsJG1ZlpZk
https://youtu.be/fRUzKyy2veM
https://bit.ly/3A4xCCK
https://youtu.be/PsMCxzOyZrk
https://youtube.com/shorts/uNIs95itQnY?feature=share
https://bit.ly/42y1ndR
https://youtu.be/PsMCxzOyZrk
....
....
ปรึกษาคุณหมอหรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
Tel : 063-959-4392
Line: http://line.me/ti/p/@Demedclinic
Line: @Demedclinic
Wechat/Whatsapp: Demedclinic
IG: https://www.instagram.com/drsuparuj
www.facebook.com/drsuparuj
Youtube: https://bit.ly/3p20YLE
Blockdit: https://bit.ly/3d8vYr1
https://vt.tiktok.com/ZSJ141Mdf/
https://mobile.twitter.com/drruj1
www.demedclinic.com / www.demedhaircenter.com
31 ธ.ค. 2567